การใช้พลังงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและการประหยัดพลังงาน
เมื่อ เราศึกษาอย่างลึกซึ้งแล้วพบว่า เมื่อเอาข้อมูลสัดส่วนมาเปรียบเทียบคำนวณเป็นตัวเลขถึงประสิทธิภาพในการ ประหยัดพลังงานในการผลิตและการบริโภคแล้วมีดังนี้
|
รถพาหนะทั่วไป |
ยานพาหนะไฟฟ้า |
|
|
สิ้นเปลืองน้ำมันเชื้อเพลิง / 100 กม. |
เปรียบเทียบกับพลังงานไฟฟ้า |
สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า |
รถยนต์ |
8.5 ลิตร น้ำมันเบนซิน |
909 ชั่วโมงวัตต์ / กม. |
488 ชั่วโมงวัตต์ / กม. |
รถตู้ |
12 ลิตร น้ำมันเบนซิน |
1,238 ชั่งโมงวัตต์ / กม. |
600 ชั่งโมงวัตต์ / กม. |
รถยนต์ขนาดเล็ก |
16 ลิตร น้ำมันดีเซล |
1,910 ชั่งโมงวัตต์ / กม |
1,000 ชั่งโมงวัตต์ / กม. |
ตารางที่ 1: ค่าเฉลี่ยนการสิ้นเปลืองพลังงานของรถยนต์ทั่วไปกับรถพลังงานไฟฟ้า
จาก ตัวเลขแสดง รถยนต์ทั่วไป,รถตู้ และรถเล็ก พลังงานหลักที่จำเป็นในการใช้เผาไหม้ภายในคิดเป็น 54%, 47%, และ 52% ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่ารถพลังงานไฟฟ้าใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ มากว่า
เมื่อมาคำนวณเป็นตัวเลข เป็นค่าเฉลี่ย 10,000 กม/ปี ซึ่งเป็นตัวเลขมาตรฐานสำหรับยานพาหนะในเมือง พลังงานที่เราสมารถประหยัดได้ใช้พลังงานรถไฟฟ้ามาทดแทนรถยนต์ทั่วไปซึ่งใช้ น้ำมัน
|
พลังงานที่ประหยัด (กิโลวัตต์ชั่วโมง) / คันต่อปี |
พลังงานที่ประหยัดเมื่อคำนวณ มาเป็นปริมาณน้ำมัน / คันต่อปี |
รถยนต์ |
4,210 |
438 |
รถตู้ |
6,380 |
709 |
รถยนต์ขนาดเล็ก |
9,100 |
84 |
ตารางที่2 : พลังงานและน้ำมันที่ประหยัดจากการใช้รถพลังงานไฟฟ้า
เมื่อ การเบรคโดยการจ่ายพลังงานคืนเกิดขึ้น พลังงานจลน์ที่เกิดขึ้นสามารถดึงกลับมาแล้วส่งไปยังแบตเตอรี่ซึ่งเป็นการ ประหยัดได้ถึงประมาณ 10%